

Piece from Pieces
เป็นชิ้นเป็นอัน
Bio
Malika Tanalapprasert
มัลลิกา ธนลาภประเสริฐ
กำเนิดวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ.2541
การศึกษา
-
จบการศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนชุมชนวัดกำแพง
-
จบการศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนปราสาททองวิทยา
-
จบการศึกษาระดับมัธยมต้นที่โรงเรียนบางปะอินราชานุเคราะห์ ๑
-
จบการศึกษาระดับมัธยมปลายที่โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
-
ปัจจุบันกำลังศึกษาระดับปริญญาตรีที่สถาบันดนตรีกัลยาณนิวัฒนา
จุดเริ่มต้นของการเล่นไวโอลิน
เริ่มเล่นไวโอลินตอนอายุ 11 ปีไปเรียนกับเพื่อนของพ่อ ชื่อ อาจารย์อ็อด อยู่ประมาณสี่ปี ก็ได้รู้จักกับอาจารย์ท่านหนึ่ง รศ.ดร.โกวิทย์ ขันธศิริ และได้ขอเรียนกับท่านจนกระทั่งเข้าศึกษาต่อที่ สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา และได้เรียนกับอาจารย์ สิทธิชัย เพ็งเจริญ จนกระทั่งปัจจุบัน
งานแข่งขัน
-
ปี พ.ศ. 2557 แข่งขันวงดนตรีสตริงระดับเยาวชน งานศิลปะหัถตกรรม ได้รางวัลชนะเลิศ ระดับจังหวัด
-
ปี พ.ศ. 2558 แข่งขันไวโอลินระดับเยาวชนที่มหาลัยศรีนครินทวิโรฒ SWU Competition For young Violinists 2015 ผลรางวัลได้อันดับ รองชนะเลิศ
ผลงานต่างๆ
-
ปี พ.ศ. 2556 ได้มีโอกาสร่วมแสดงดนตรีกับวงจามจุรี
-
ปี พ.ศ. 2559 แสดงดนตรีที่ประเทศอินโดนีเซีย ในงานเทศกาลดนตรีอาเซียน โดยนำดนตรีสากลมาประยุกต์กับดนตรีไทย
-
ปี พ.ศ. 2560 ได้รับคัดเลือกไปโชว์ดนตรีไทยสากลร่วมสมัยที่ประเทศไต้หวัน
-
ปัจจุบันเป็นสมาชิกวงดนตรีคันทรี Blue Mountain


About the Project
Geometric Art
คืออยากนำเสนอความรู้สึกของเพลงผ่านภาพแนวเรขาคณิตที่มีการจัดเรียงตามการวิเคราะห์เพลง บางคนอาจสงสัยว่าแล้วมันเชื่อมโยงกันยังไง คือต้องบอกก่อนว่าตัวเพลงที่เล่นมีการแก้ไขหลายครั้ง และมีการนำช่วงทำนองเดิมมาเล่นในหลายช่วงของบทเพลง ตรงนี้แหละที่ทำให้เป็นจุดประกายความคิดว่าจะเชื่อมโยงเพลงกับภาพโดยการ ดึงวลี หรือ passage มาตีความ(Analysis) และทดลองเล่นใน หลากหลายรูปแบบ และนำวัตถุหรือรูปร่างต่างตามความรู้สึกของ passage นั้นมาแทน passage นั้นและนำแต่ละวัตถุหรือรูปทรง รูปร่างนั้นมาประกอบเป็นรูปภาพใหม่หนึ่งชิ้นงาน


Violin Concerto no.1
op. 26
Max Bruch
Violin Concerto No. 1 in G Minor, Op. 26, concerto for violin by German composer Max Bruch. It is admired especially for its lyrical melodies, which span nearly the entire range of the instrument. The work premiered in Bremen, Germany, on January 7, 1868, with the virtuoso violinist Joseph Joachimas soloist. The piece is not only Bruch’s best-known composition but one of the most frequently performed of all violin concerti.
ไวโอลินคอนแชร์โต้หมายเลข 1 อยู่ในคีย์ G Minor, Op. 26 เพลงนี้เป็นคอนแชร์โต้สำหรับไวโอลินแต่งโดยนักแต่งเพลงชาวเยอรมัน Max Bruch(แม็กซ์บรูช) เพลงนี้ได้รับการชื่นชมโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับทำนองของบทเพลง ซึ่งถูกแต่งให้ครอบคลุมเกือบทุกช่วงของเครื่องดนตรี ผลงานเพลงนี้ถุกฉายรอบปฐมทัศน์ที่เมืองเบรเมนประเทศเยอรมนีเมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2411 โดยนักไวโอลินโจเซฟโจอาคิมาสนักไวโอลินฝีมือดี ผลงานชิ้นนี้ไม่เพียง แต่เป็นที่รู้จักกันมากดีที่สุดของ Bruch แต่เป็นหนึ่งในการแสดงคอนเสิร์ตไวโอลินที่มีการแสดงบ่อยที่สุดด้วยเช่นกัน
The Violin Concerto No. 1, Bruch remained faithful to flowing melodies and graceful rhythms reminiscent of an earlier era.
The sonata-form first movement of the work, “Prelude: allegro moderato,” features the violinist performing impassioned solo passages in alternation with a more solidly paced—but occasionally ardent—orchestral voice.
The second movement, “Adagio,” presents three sentimental themes, which are explored and developed fairly evenly across the solo and orchestral parts.
The spirited third movement, “Finale: allegro energico,” is based largely on a vibrant theme that is suggestive of a folk dance.
สำหรับเพลงนี้ Bruch ยังคงยึดท่วงทำนองที่ไหลลื่นและจังหวะอันสง่างามที่ชวนให้นึกถึงยุคก่อนหน้านี้
ในตัวเพลงนี้ทอนแรกจะอยู่ในรูปแบบของโซนาต้า คือ“ Prelude allegro moderato” จะนำเสนอทำนองที่นักไวโอลินโซโล่เล่นและมีการสับเปลี่ยนทำนองระหว่างมือโซโล่และเสียงของออเคสตร้าโดยสลับกับเสียงที่ไพเราะกว่า
ส่วนในทอนที่สอง“ Adagio” นำเสนอธีมของอารมณ์สามแบบและได้พัฒนาทำนองอย่างเท่าเทียมกันในส่วนของมือโซโล่และวงออเคสตร้า
ในทอนที่สามจะให้อารมณ์ที่มีชีวิตชีวา“ Finale: allegro energico” ซึ่งทอนนี้ได้แนวคิดมาจากการเต้นรำพื้นบ้านอีกด้วยจึงทำให้ทอนที่สามมีความน่าสนใจมากขึ้น
https://www.britannica.com/topic/Violin-Concerto-No-1-in-G-Minor-Op-26
เป็นลิงค์ของข้อมูลข้างต้น
Emotions and feelings of shape
อารมณ์และความรู้สึกของรูปร่าง
รูปทรง
วงกลม ให้ความรู้สึกเด่นชัด เคลื่อนไหว ไม่มั่นคง
สามเหลี่ยม ให้ความรู้สึกมั่นคง สมดุล สูงเด่น สง่างาม
สี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้ความรู้สึกสมดุล สงบ แข็งแรง
สี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวนอน ให้ความรู้สึกมั่นคง กว้าง สงบนิ่ง พักผ่อนสายตา
สี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวตั้ง ให้ความรู้สึกสูงเด่น สง่างาม แต่ถ้าฐานแคบและด้านตั้งสูงมากอาจดูไม่มั่นคง
สี่เหลี่ยมคางหมู ให้ความรู้สึกมั่นคง หนักแน่น ปลอดภัย
อิสระ ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว ลื่นไหล แปรปรวน ไม่มั่นคง
http://119.46.166.126/self_all/selfaccess11/m5/art5_1/lesson1/lesson1_1.php ลิงค์ข้อมูลข้างต้น

ภาพที่ได้จากทั้งสามทอนมารวมกัน

Contact
